ประวัติและตำนาน

เจดีย์ชเวสิกอง ประเทศเมียนมาร์ 

เจดีย์ชเวสิกอง เมื่อพูดถึงประเทศเมียนมาร์เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินเกี่ยวกับชื่อเสียงขององค์เจดีย์ต่างๆในประเทศเมียนมาร์ว่ามีความสวยงามมากแค่ไหน

ซึ่งประเทศเมียนมาร์นั้นถูกระบุว่ามีการสร้างมหาเจดีย์ขนาดใหญ่และมีความสวยงามเอาไว้ถึง 5 แห่งด้วยกันโดยในบทความนี้เราจะมาพูดถึงมหาเจดีย์หนึ่งในห้าที่ได้รับความนิยมและถูกระบุว่าเป็นเจดีย์ที่มีความงดงามติดอันดับของประเทศเมียนมาร์นั่นเองซึ่งเจดีย์ที่เรากำลังจะพาไปพูดถึงกันในครั้งนี้ก็คือเจดีย์ชเวสิกอง 

          สำหรับเจดีย์แห่งนี้ว่ากันว่ามีการสร้างเอาไว้ตั้งแต่ในสมัยโบราณอายุหลายร้อยปีแล้วการก่อสร้างเจดีย์แห่งนี้ขึ้นมานั้นก็เพื่อต้องการที่จะใช้สำหรับเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุซึ่งเจดีย์ชเวสิกองแห่งนี้นั้นมีการนำพระบรมสารีริกธาตุทั้งหมด 3 ส่วนด้วยกันมาบรรจุประดิษฐานเอาไว้ในเจดีย์ชเวสิกองแห่งนี้  

          สำหรับพระบรมสารีริกธาตุ ที่ถูกนำมาบรรจุไว้ในเจดีย์ชเวสิกองแห่งนี้นั้นได้แก่พระทันตธาตุหรือที่ชาวบ้านมักเรียกกันว่าพระเขี้ยวแก้วซึ่งพระทันตธาตุนี้ถูกนำมาถวายให้แก่กษัตริย์แห่งของพม่าโดยผู้ที่นำมาถวายนั้นก็คือกษัตริย์แห่งสีลังกาในยุคนั้นเอง

  ส่วนพระธาตุส่วนที่ 2 นั้นถูกนำมาจากเมืองสีเกษตรโดยเฉพาะถ้าส่วนที่ 2 นี้คือส่วนที่เป็นกระดูกไหล่  และพระธาตุส่วนที่ 3 คือพระธาตุนลาฏ ถูกนำมาจากเมืองศรีเกษตรเช่นเดียวกัน 

        อย่างไรก็ตามตามประวัติความเป็นมาในการก่อสร้างเจดีย์ชเวดากองนั้นว่ากันว่ากษัตริย์ที่เป็นคนที่มีการสั่งให้มีการก่อสร้างเจดีย์ชเวสิกองนั้นมีความต้องการที่จะเป็นผู้รวบรวมแผ่นดินในแถบนั้นให้เป็นปึกแผ่นหรืออาจจะกล่าวได้ว่ากษัตริย์พม่าในยุคนั้นต้องการที่จะก่อตั้งอาณาจักรพุกามขึ้นมา

จึงได้มีการตั้งเจดีย์ชเวสิกอง ขึ้นมาซึ่งพระองค์นั้นถือว่าเป็นกษัตริย์องค์แรกของราชวงศ์พุกามนั่นเอง  สำหรับชื่อเสียงของกษัตริย์ที่มีการสั่งให้มีการก่อสร้างเจดีย์ชเวสิกอง นั้นก็คือพระเจ้าอโนรธามังช่อ 

           ลักษณะของเจดีย์ชเวสิกองนั้นเป็นเจดีย์ขนาดใหญ่ซึ่งมีการทาสีทองเหลืองอร่ามบริเวณโดยรอบของเจดีย์ชเวสิกอง จะมีการประดับประดาเอาไว้อย่างสวยงามเป็นการนำคล้ายกับต้นไม้สีทองมาตกแต่งบริเวณโดยรอบซึ่งลักษณะของต้นไม้นั้นจะมีลักษณะของฉัตร  9 ชั้น

           ปัจจุบันเจดีย์ชเวสิกองเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมจากบรรดานักท่องเที่ยวเป็นอย่างมากเนื่องจากว่าเป็นสถานที่ที่ถ้ามึงให้ความเคารพนับถือและยังมีความสวยงามอีกด้วยซึ่งส่วนใหญ่แล้วนักท่องเที่ยวมักจะเดินทางมาเที่ยวโดยการนั่งรถแท็กซี่ซึ่งที่นี่จะเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมได้ตลอด 24 ชั่วโมง 

 

สนับสนุนโดย.    ufabet

ประวัติศาลเจ้าพ่อหลักเมือง จังหวัดตราด

       ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง   สำหรับในประเทศไทยนั้นทุกจังหวัดจะมีศาลหลักเมืองเป็นของตนเองซึ่งศาลหลักเมืองนั้นถือว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองและถ้าหากใครเดินทางไปเที่ยวจังหวัดนั้นๆก็ควรจะแวะไปกราบไหว้ขอพรศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเพื่อความเป็นสิริมงคลของตนเองซึ่งในบทความนี้เราจะมาพูดเกี่ยวกับเรื่องของประวัติการก่อสร้างศาลหลักเมืองประจำจังหวัดตราดซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งในจังหวัดที่ได้รับความนิยมจากบรรดานักท่องเที่ยวที่เดินทางไปเที่ยวกันอย่างไม่ขาดสาย 

           อย่างไรก็ตามหากใครสนใจที่จะเดินทางไปกราบไหว้ขอพรศาลหลักเมืองประจำจังหวัดตราดนั้นสามารถเดินทางไปได้ซึ่งศาลหลักเมืองที่นี่นั้นจะตั้งอยู่บริเวณหน้าอำเภอของจังหวัดเลยทีเดียว

ดังนั้นสามารถที่จะหาได้ง่ายๆซึ่งเป็นสารขนาดใหญ่มีป้ายบอกอย่างชัดเจนหรือถ้าใครหาเส้นทางในการเดินทางไปไม่เจอก็สามารถค้นหาผ่านทาง Google Map ได้เช่นเดียวกัน

           นอกจากนี้ศาลหลักเมืองประจำจังหวัดตราดนั้นเป็นศาลหลักเมืองที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นแตกต่างจากศาลหลักเมืองของจังหวัดอื่นๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับเรื่องของลักษณะของศิลปะสถาปัตยกรรมการก่อสร้างศาลหลักเมืองเพราะที่จังหวัดตราดนั้นมีสถาปัตยกรรมการก่อสร้างในลักษณะแบบเก่งจีนซึ่งเราไม่ค่อยพบเห็นกันมากนักเพราะศาลหลักเมืองส่วนใหญ่นั้นจะเน้นการก่อสร้างในศิลปะของไทยโบราณนั่นเอง

         อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าลักษณะของการก่อสร้างศาลหลักเมืองของจังหวัดตราดนั้นจะแตกต่างจากของที่อื่นแต่ก็ยังคงเป็นศาลหลักเมืองซึ่งมีความศักดิ์สิทธิ์เป็นสิ่งที่ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือและศรัทธาเป็นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งศาลหลักเมืองของจังหวัดตราดนั้น

ว่ากันว่ามีประวัติการสร้างมาตั้งแต่สมัยยุคของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเลยทีเดียวซึ่งยุคดังกล่าวเป็นยุคที่พระเจ้าตากสินกำลังก่อสงครามซึ่งเป็นช่วงที่พระองค์ได้เดินทางมาที่จังหวัดตราดเพื่อทำการรวบรวมไพร่พลเมืองตราดเพื่อที่จะนำกำลังพลไปฝึกซ้อมเป็นทหารเพื่อกอบกู้ชาติบ้านเมือง 

          ดังนั้นที่บริเวณศาลหลักเมืองประจำจังหวัดตราดแห่งนี้นั้นจึงมักมีการจัดกิจกรรมวันงานพรีเมืองขึ้นทุกปีซึ่งเป็นกิจกรรมที่ประชาชนชาวจังหวัดตราดนั้นต้องการจัดขึ้นมาเพื่อเป็นการเทิดทูนคุณงามความดีของเจ้าพ่อหลักเมืองซึ่งจะจัดกันที่หน้าบริเวณศาลหลักเมืองโดยชาวจีนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดตราดเรียกงานนี้ว่าวันเสี่ยกรงแซยิดนั่นเอง 

      อย่างไรก็ตามนอกจากนักท่องเที่ยวจะสามารถกราบไหว้ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งก็คือศาลหลักเมืองประจำจังหวัดแล้วยังสามารถกลับไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งมีความสำคัญของชาวจังหวัดตราดอีกอย่างหนึ่งก็คือศิวลึงค์ศิลาซึ่งถูกค้นพบและถูกนำมาไว้ที่บริเวณศาลหลักเมืองโดยการค้นพบนั้นค้นพบที่บ้านห้วยแร้งอำเภอเมืองหลังจากนั้นก็มีการอัญเชิญมาไว้ที่บริเวณศาลหลักเมืองเพื่อให้ประชาชนทั่วไปเข้ามากราบไหว้ขอพรได้อีกด้วย

 

สนับสนุนโดย.    ufabet เว็บหลัก

วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ 

วัดเจดีย์หลวง  สำหรับความประวัติความเป็นมาของวัดที่เราจะพาไปรู้จักกันนี้เป็นวัดที่สร้างขึ้นในจังหวัดเชียงใหม่และวัดแห่งนี้สร้างขึ้นมาแล้วหลายร้อยปีในวัดแห่งนี้สร้างขึ้นตั้งแต่ช่วงประมาณปี  พ.ศ. 2471 ซึ่งชื่อวัดอย่างเป็นทางการนั้นหลายคนเรียกกันว่าวัดโชติการามหรือวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร

ซึ่งวัดแห่งนี้นั้นถือว่าเป็นวัดอารามหลวงแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ที่มีอายุเก่าแก่เป็นโบราณสถานที่ยังคงความสวยงามและคุณค่าถือว่าเป็นมรดกของไทยอีกแห่งหนึ่งเลยก็ว่าได้สำหรับวัดแห่งนี้นั้นมีบริเวณพื้นที่กว้างขวางเป็นอย่างมาก

และถูกสร้างขึ้นใจกลางเมืองของจังหวัดเชียงใหม่นักท่องเที่ยวคนไหนสนใจที่จะไปชมความสวยงามของศิลปะการก่อสร้างของวัดวาอารามแห่งนี้นั้นก็สามารถเดินทางไปได้โดยว่าจะถูกสร้างอยู่แถวบริเวณถนนพระปกเกล้านั่นเอง 

          สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะสามารถมองเห็นเป็นอันดับแรกเมื่อเดินทางมาที่วัดเจดีย์หลวงแห่งนี้นั่นก็คือวิหารขนาดใหญ่ที่มีการถูกสร้างเอาไว้โดยพระอาจารย์และเจ้าแก้วนวรัฐ  รวมถึงเจ้าคุณอุบาลีด้วย ซึ่งความต้องการในการสร้างพระวิหารแห่งนี้นั้นก็เพราะต้องการที่จะใช้สำหรับเป็นที่ประดิษฐานของพระประธาน  ซึ่งพระประธานที่อยู่ด้านในก็คือพระประธานพระอัษฎารถ 

โดยพระประธานองค์นี้นั้นได้มีการสร้างแบบศิลปะในรูปแบบของเชียงใหม่ตอนต้นเป็นพระประธานปางประทานอภัย ซึ่งลักษณะของการออกแบบพระประธานองค์นี้นั้นได้รับอิทธิพลในการสร้างมาจากศิลปะของอินเดียซึ่งก็คือศิลปะปลาร้านั่นเอง

             สำหรับวิหารหลวงแห่งนี้นั้นถูกสร้างขึ้นมาอยู่แถวบริเวณกลางวัด  เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทางมาถึงก็จะเจอกับวิหารแห่งนี้เป็นอันดับแรก  โดยบริเวณด้านหน้าทางเข้าวิหารนั้นจะเห็นได้ว่าได้มีการสร้างวิหารขนาดใหญ่ที่มีความสวยงามเอาไว้ด้วยบริเวณทางขึ้นเข้าไปภายในวิหารนั้นทางช่างที่เป็นผู้ชำนาญการก็ได้มีการสร้างบันได

โดยจะเห็นได้จากโดยจะเห็นได้จากการสร้างนาคเอาไว้ตรงบริเวณด้านข้างทั้งสองฝั่งของบันได และหางของนาค จะยาวขึ้นไปด้านบนวิหาร หางของนาคจะเกี่ยวกระหวัดกลายเป็นซุ้มประตูทางเข้าวิหารนั่นเอง 

       สำหรับหน้าที่บริเวณบันไดทางขึ้นวิหารแห่งนี้นั้นเป็นหน้าที่ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยที่มีการสร้างวิหารแห่งนี้ถือว่าเป็นหน้าคู่ที่มีความเก่าแก่เป็นอย่างมากและนับได้ว่าในวัดของเขตภาคเหนือทุกวัดนั้นหน้าคู่นี้คือหน้าที่มีความงดงามมากที่สุดเท่าที่เคยสร้างมาเลยก็ว่าได้ 

     นอกจากนี้เจดีย์ที่ถูกสร้างภายในวัดเจดีย์หลวงแห่งนี้ยังถือได้ว่าเป็นเจดีย์ที่มีความใหญ่โตมโหฬารมากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่เลยก็ว่าได้ พร้อมกันนี้เจดีย์แห่งนี้ยังมีการสร้างเอาไว้ตั้งแต่สมัยราชวงศ์มังรายหรือสมัยของรัชกาลพระเจ้าแสนเมืองซึ่งสมัยนั้นพระองค์นั้นถือว่าเป็นกษัตริย์ที่ปกครองเมืองเชียงใหม่วันที่ 7 แห่งราชวงศ์นั่นเอง 

        อย่างไรก็ตามเมื่อมาถึงยุคสมัยของพระยาติโลกราชจึงได้โปรดให้ช่างเข้ามาทำการขยายพื้นที่ของเจดีย์ให้มีความกว้างและใหญ่โตมากยิ่งขึ้นและขยายเจดีย์ให้มีความสูงมากขึ้นกว่าเดิมนอกจากนี้พระองค์ยังได้มีการอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานเอาไว้ที่เจดีย์แห่งนี้นานกว่า 80 ปีเลยทีเดียวอย่างไรก็ตามในช่วงประมาณปีพศ. 2088 เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงเกิดขึ้นทำให้ยอดของเจดีย์หักโค่นลงมาซึ่งตรงกับสมัยของพระนางเจ้าจิรประภานั่นเอง 

 

สนับสนุนโดย.    สล็อต เว็บตรงไม่ผ่านเอเย่นต์

วัดพระสิงห์วรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ 

        วัดพระสิงห์วรวิหาร  สำหรับใครที่ชื่นชอบการท่องเที่ยวและชื่นชอบการศึกษาสถานที่เชิงประวัติศาสตร์อีกหนึ่งสถานที่น่าภาคภูมิใจของคนไทย  และเป็นสถานที่ที่มีการสร้างมาตั้งแต่ในสมัยอดีตบูรณาการนั้นแนะนำว่าที่จังหวัดเชียงใหม่มีวัดเก่าแก่ที่มีความสวยงามและเป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานเยอะแยะมากมาย

สำหรับในบทความนี้เราจะแนะนำไม่รู้จักวัดพระสิงห์วรมหาวิหารซึ่งวัดแห่งนี้นั้นก็เป็นวัดที่ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่เชียงใหม่ยังเป็นผืนแผ่นดินล้านนาเลยทีเดียวเลือกได้ว่าวัดแห่งนี้นั้นเป็นวัดที่มีอายุเก่าแก่มาแล้วหลายร้อยปีเลยก็ว่าได้

        สำหรับใครที่จะไปชมความสวยงามของศิลปะและประวัติศาสตร์ศาสนสถานที่มีความงดงามอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ หรือวัดพระสิงห์วรวิหารนั้นวัดแห่งนี้จะอยู่ที่ถนนสามล้านตำบลพระสิงห์ซึ่งจะตั้งอยู่บริเวณคูเมืองของจังหวัดเลยก็ว่าได้ดังนั้นหากใครเดินทางไปเที่ยวที่จังหวัดเชียงใหม่จะสามารถเห็นวัดพระสิงห์วรวิหารได้อย่างชัดเจน

            สำหรับวัดแห่งนี้ในอดีตนั้นเคยเป็นวัดพระอารามหลวงชั้นเอก   เป็นวัดที่มีความสำคัญในสมัยอดีตโบราณซึ่งปัจจุบันนั้นยังคงคุณค่าแก่การอนุรักษ์เอาไว้ลักษณะของศิลปะที่ใช้ในการก่อสร้างนั้นจะเน้นเป็นแบบล้านนาโบราณที่สำคัญวัดแห่งนี้นั้นเป็นวัดที่มีชื่อเสียงมากแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ไม่แตกต่างจากวัดพระธาตุดอยสุเทพเลยทีเดียว

เพราะวัดแห่งนี้นั้นเป็นสถานที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปเก่าแก่โบราณเป็นพระพุทธรูปที่สร้างในลักษณะของศิลปะเชียงแสนโบราณโดยพระพุทธรูปองค์ดังกล่าวนั้นก็คือพระพุทธสิหิงค์หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่าพระสิงห์นั่นเอง

โดยพระพุทธรูปองค์นี้นั้นมีการสร้างลักษณะของปางมารวิชัยขัดสมาธิเพชรว่ากันว่าความเก่าแก่ของพระพุทธสิหิงค์นั้นถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่ช่วงประมาณ ปีพ.ศ. 700   

         สำหรับพระพุทธสิหิงค์เป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่ที่อยู่ในประเทศไทยมาอย่างยาวนานอายุเป็นพันปีควบคู่กับพระพุทธชินราชและพระแก้วมรกตเลยทีเดียวซึ่งชาวบ้านให้ความเคารพนับถือพระพุทธสิหิงค์เป็นอย่างมากเรียกได้ว่าเป็นพระพุทธรูปที่ควบคู่มากับผืนแผ่นดินล้านนามาอย่างยาวนานเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง

ของจังหวัดเชียงใหม่และเป็นที่รู้จักกันดีของชาวเชียงใหม่ว่าเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์มากซึ่งชาวจังหวัดเชียงใหม่นั้นให้ความเคารพนับถือและเรียกกันว่าเชียงแสนสิงห์หนึ่งนั่นเอง 

 

สนับสนุนโดย.    ufabet auto

ประวัติความเป็นมาของกีฬากระบี่กระบอง 

       กีฬากระบี่กระบอง เมื่อพูดถึงกีฬากระบี่กระบองเชื่อว่าทุกคนย่อมรู้จักกันเป็นอย่างดีเนื่องจากว่ามันเป็นกีฬาชนิดหนึ่งครึ่งถูกบรรจุไว้ในหลักการเรียนการสอนเป็นวิชาที่นักเรียนจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องของศิลปะการต่อสู้ของคนไทยและเป็นกีฬาที่ถูกบรรจุให้อนุรักษ์เอาไว้เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ซึ่งเราจะเรียนกันในวิชาพลศึกษาซะเป็นส่วนใหญ่

      อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าจะมีการบรรจุกีฬาชนิดนี้ให้อยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนแต่ก็ยังมีบางคนที่ยังไม่รู้จักกีฬาชนิดนี้ดียังไม่รู้ว่ากีฬาชนิดนี้มีประวัติความเป็นมาอย่างไรและเป็นกีฬาของไทยจริงหรือไม่ซึ่งในวันนี้เราจะมีการแนะนำเกี่ยวกับเรื่องของประวัติความเป็นมาของกีฬากระบี่กระบองให้ทราบกัน 

         สำหรับกีฬากระบี่กระบองนั้นเชื่อว่าผู้คนที่ยังไม่ได้เรียนหลักสูตรนี้ในวิชาพลศึกษาอาจจะไม่ค่อยคุ้นชินกันมากนักเนื่องจากว่ากีฬาชนิดนี้เราจะไม่เห็นมีการจัดการแข่งขันภายนอกจะเปิดเฉพาะให้เป็นการเรียนการสอนเท่านั้นและกีฬาชนิดนั้นก็เป็นกีฬาศิลปะการต่อสู้ซึ่งเป็นศิลปะของไทยมาตั้งแต่ในสมัยโบราณโดยกีฬาชนิดนี้ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นผู้ชายในการเรียนรู้อาวุธที่ใช้ในการต่อสู้นั้นก็เป็นเพียงแค่กระบี่แล้วก็กระบองไม้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น 

          สำหรับจุดกำเนิดหรือจุดเริ่มต้นของวิชากีฬากระบี่กระบองนั้นมาจากช่วงเวลาไหนนั้นไม่สามารถยืนยันได้อย่างแน่นอนแต่ว่าจุดกำเนิดมาจากประเทศไทยอย่างแน่นอนเนื่องจากว่าประเทศไทยนั้นเป็นประเทศนักรบซึ่งมีการลบมาตั้งแต่ในสมัยโบราณอดีตกาลหลายร้อยปีมาแล้ว

ดังนั้นกีฬากระบี่กระบองก็จึงเป็นวิธีการลบของนักรบของคนไทยมาตั้งแต่ในสมัยโบราณนั่นเองไม่ว่าจะเป็นกรุงรัตนโกสินทร์กรุงศรีอยุธยาหรือกรุงสุโขทัยก็มีการใช้กระบี่กระบองในการออกไปรบเช่นเดียวกัน

           นอกจากนี้ถ้าเกิดใครศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของวรรณกรรมต่างๆก็จะเห็นว่าในพระราชนิพนธ์ต่างๆนั้นก็มีการพูดถึงกระบี่กระบองด้วยเช่นเดียวกันรวมถึงกีฬากระบี่กระบองนี้เป็นกีฬาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 นั้นโปรดปรานมากเป็นพิเศษอีกด้วย

          นอกจากนี้ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 กีฬากระบี่กระบองก็ยังคงมีการละเล่นกันอย่างต่อเนื่องโดยเคยถูกนำมาจัดแสดงในงานสมโภชต่อหน้าพระที่นั่งของรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 โดยเช่นเดียวกันอย่างไรก็ตามตั้งแต่รัชกาลที่ 6 เป็นต้นมากีฬากระบี่กระบองก็ไม่ค่อยได้รับความนิยมสักเท่าไหร่เนื่องจากว่าวิวัฒนาการนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปเทคโนโลยีใหม่ๆมีเข้ามากยิ่งขึ้นทำให้สังคมนั้นไม่ค่อยให้ความสนใจเกี่ยวกับการเล่นกีฬากระบี่กระบองเหมือนเมื่อก่อนนั่นเอง 

     

สนับสนุนโดย.    ufabet ทางเข้าเล่น

ประวัติ 4 อาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ในสมัยโบราณ    

  อาณาจักรโยนกเชียงแสน

          ประวัติ 4 อาณาจักร อาณาจักรเก่าแก่ที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย และมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-19มีศูนย์กลางอยู่ที่อำเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงรายในปัจจุบันก่อร่างสร้างอาณาจักร.  Ufabet เข้าสู่ระบบ   โดยพระเจ้าสิงหนวัติที่อพยพผู้คนลงมาจากมณฑลยูน

นานทางตอนใต้ของประเทศจีนและมีพญานาคมาช่วยสร้างเมืองบริเวณลุ่มแม่น้ำกกและแม่น้ำโขงจึงเรียกชื่อว่าเวียงโยนกนาคพันธุ์มีกษัตริย์ปกครองต่อเนื่องยาวนานกว่าสี่สิบห้าพระองค์

          โยนกเชียงแสนถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรขอมในเวลาต่อมาก่อนที่จะกอบกู้เอกราชกลับมาได้สร้างเมืองใหม่ที่เวียงไชยปราการแต่สุดท้ายเหมืองยุบตัวกลายเป็นหนองน้ำด้วยมีเรื่องเล่าต่อกันมาว่าเกิดจากการที่ชาวบ้านจับปลาไหลเผือกได้และนำไปถวายกษัตริย์จึงโปรดให้ทำเป็นอาหารแบ่งปันกันทั่วทั้งเมืองจึงได้เกิดอาเพศขึ้นจนถึงขั้นบ้านเมืองล่มสลาย

อาณาจักรหริภุญชัย

          มีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดลำพูนเป็นอาณาจักรสำคัญในภาคเหนือที่มีอายุกว่า 600 ปีมีกษัตริย์ปกครองรวม 29 พระองค์รุ่งเรืองอยู่ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับโยนกเชียงแสนก่อตั้งขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 13 โดยฤาษีวาสุเทพแต่ผู้ที่ทำให้อาณาจักรเป็นที่รู้จักในวงกว้างก็คือพระนางจามเทวี

ซึ่งเป็นพระธิดาของกษัตริย์ของจากเมืองละโว้สนามได้ก่อสร้างบ้านเมืองทำนุบำรุงศาสนาและศิลปวัฒนธรรมทางที่หริภุญชัยและเขลางค์นครลำปางด้วยสิ่งที่ยังคงหลงเหลือความยิ่งใหญ่มาจวบจนถึงปัจจุบันคือพระธาตุหริภุญชัยโบราณสถานศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง 

    อาณาจักรล้านนา

     พญามังรายกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งในอาณาจักรภาคเหนือจะรวบรวมอาณาจักรใหญ่น้อยในภาคเหนือเข้าไว้ด้วยกันซึ่งรวมถึงโยนกเชียงแสนหริภุญชัยเขลางค์นครลำปางก่อตั้งอาณาจักรล้านนาดาราพุทธศักราช 1839 มีศูนย์กลางอยู่ที่นพรัตน์ศรีนครพิงค์เชียงใหม่

โดยพระยามังรายพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งอาณาจักรสุโขทัยและพ่อขุนงำเมืองแห่งเมืองพะเยาเป็นพระสหายร่วมน้ำสาบานปฏิญาณว่าทั้ง 3 เมืองจะเป็นมิตรที่ดีต่อกัน

          อาณาจักรล้านนารุ่งเรืองในพื้นที่ภาคเหนืออย่างยาวนานตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-25 มีศิลปะวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์มีภาษาเป็นของตัวเอง เจริญรุ่งเรืองอย่างยาวนานก่อนจะตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าและกรุงศรีอยุธยาในเวลาต่อมา

ซึ่งล้านนายังคงสถานะเป็นเมืองประเทศสราชมาโดยตลอดจนกระทั่งกรุงรัตนโกสินทร์และจัดระบบการปกครองเชียงใหม่ซึ่งถือเป็นการสิ้นสุดของอาณาจักรล้านนา 

   อาณาจักรโคตรบูรณ์

        อาณาจักรแห่งนี้ตั้งอยู่ริมสองฝั่งแม่น้ำโขงบริเวณภาคอีสานตอนเหนือของไทยต่อเนื่องไปยังสปปลาวมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดนครพนมและมรุกขนครพระธาตุของสปปลาวในปัจจุบันเป็นอาณาจักรที่ดำรงอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11-15 สิ่งก่อสร้างสำคัญที่บ่งบอกถึงการมีอยู่ของอาณาจักร

คือพระธาตุพนมเจดีย์ที่เก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีรูปแบบศิลปะวัฒนธรรมเฉพาะตัวภายในบรรจุพระอุรังคธาตุคือพระบรมสารีริกธาตุส่วนของหน้าอกของพระพุทธเจ้าและมีตำนานเก่าแก่ที่สะท้อนให้เห็นถึงความผูกพันกับพุทธศาสนาที่เล่าสืบต่อกันมา