วัดมิ่งเมือง จังหวัดน่าน

วัดมิ่งเมือง จังหวัดน่าน สำหรับบทความนี้เราจะมีการพูดถึงวัดมิ่งเมืองวัดที่มีความสำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดน่านเรื่องจากวัดแห่งนี้นั้นจะเป็นสถานที่ที่มีการสร้างเสาหลักเมืองไว้ภายในวัดแห่งนี้ด้วย

ดังนั้นวัดแห่งนี้จึงได้ชื่อว่าเป็นวัดที่มีความเก่าแก่และมีความศักดิ์สิทธิ์อีกแห่งหนึ่งซึ่งวันนี้มีประวัติความเป็นมาอย่างยาวนาน

         ว่ากันว่าแต่เดิมวัดแห่งนี้นั้นเคยเป็นวัดร้างมาก่อนไม่มีใครสนใจดูแล  ซึ่งแต่เดิมถึงแม้ว่าจะเป็นวัดร้างแต่ก็เป็นสถานที่ที่มีเสาหลักเมืองตั้งอยู่ด้วยเสาหลักเมืองในสมัยโบราณนั้นไม่ได้มีการดูแลเป็นอย่างดีเหมือนในปัจจุบันนี้ซึ่งแต่เดิมนั้นเสาหลักเมืองนั้นมีลักษณะเป็นเพียงแค่ท่อนซุงขนาดใหญ่ 1 ท่อน

ซึ่งความใหญ่ของท่านทรงนั้นต้องใช้คนสองคนถึงจะสามารถล้อมรอบได้  โดยในช่วงประมาณปีพ.ศ 2400 ที่นี่ยังคงเป็นเพียงแค่วัดร้างมีซากวิหารแต่ไม่มีพระสงฆ์อาศัยอยู่จนเมื่อพระเจ้าอนันตวรฤทธิเดชซึ่งในขณะนั้นเป็นเจ้าหน้าที่ปกครองจังหวัดน่านได้เดินทางมาเห็นวัดร้างแห่งนี้แล้วให้ความสนใจ

พระองค์จึงได้มีการสถาปนาตั้งวัดนี้ขึ้นมาใหม่นำพระสงฆ์เข้ามาอาศัยอยู่และมีวรณะซ่อมแซมตัวโบสถ์วิหารต่างๆของวัดขึ้นมาใหม่พร้อมกันนี้ก็ได้มีการตั้งชื่อวัดขึ้นมาใหม่โดยให้ชื่อว่าวัดมิ่งเมืองหลักนั้นก็เข้ามาดูแลจัดการเกี่ยวกับเรื่องของการบูรณะเสาหลักเมืองอีกด้วย

โดยช่วงประมาณปีพ.ศ 2527 นั้นได้มีการสร้างอุโบสถขึ้นมาใหม่รวมถึงสร้างศาลาจตุรมุขขึ้นมาเพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานของเสาหลักเมือง  

       สำหรับอุโบสถที่สร้างขึ้นมาใหม่นั้น พระเจ้าอนันตวรฤทธิเดชได้มีการสั่งให้ช่างนั้นได้ออกแบบอุโบสถหลังใหม่เป็นรูปแบบล้านนาร่วมสมัยเซนศาลาจตุรมุขนั้นก็มีการสร้างให้ครอบเสาหลักเมืองเอาไว้โดยเฉพาะเสาหลักเมืองมีความสูงประมาณ 3 เมตร

ดังนั้นในตัวศาลานั้นจึงได้ต้องสร้างสูงขึ้นมาเพื่อครอบเอาไว้และตัวศาลาจตุรมุขนั้นก็ได้มีการแกะลวดลายประดับด้วยไม้ลงรักปิดทองเอาไว้อย่างสวยงามเลยทีเดียว

          สำหรับใครที่เคยไปกราบไหว้เสาหลักเมืองของจังหวัดน่าจะเห็นได้ว่าศาลาที่สร้างขึ้นมาครอบเสาหลักเมืองนั้นจะมีการแกะสลักทั้งหลังไม่ว่าจะเป็นตัวเสาร์ของตัวศาลาหรือแม้แต่หลังคาจตุรมุขต่างๆมีการแกะสลักลวดลายเอาไว้อย่างสวยงามโดยจะเน้นลวดลายของพญานาคเป็นหลักซึ่งตัวศาลานั้นจะมีการใช้สีขาวในการถ่าและเน้นหลังคาสีแดงตัดกัน แลดูวิจิตรบรรจงงดงามลงตัวมากเลยทีเดียว  

         สำหรับเสาหลักเมืองนั้นก็มีการนำสีทองมาทา นอกจากนี้ยังมีการนำผ้าเจ็ดสีเจ็ดศอกมาพันรอบเอาไว้ด้านบนของเสาหลักเมืองก็มีการแกะสลักเป็นรูปพรหมพักตร์ ที่ชื่อว่าเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เอาไว้อีกด้วย 

 

สนับสนุนโดย.    ufabet ฝากเงิน ออโต้