นาค มาจากไหน? ในคัมภีร์ศาสนาของอินเดียต่างเต็มไปด้วยเรื่องราวความสัมผัสระหว่างลัทธิพราหมณ์พุทธกับความเชื่อ “ เรื่องนาค “ มันได้กลายมาเป็นแรงบันดานให้ศิลปินมากมายสรรค์สร้างผลงานอันงดงามตามศาสนสถานต่างๆทั่วทั้งอุษาขเณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดย “ นาค “ คือสิ่งที่ผู้คนในดินแดนแห่งนี้เชื่อว่าศักดิ์สิทธิ์ทรงพลังอำนาจและมีอิฐฤทธิ์สามารถแปลงกายเป็นคนได้นาคยังได้รับความเคารพในฐานะเทพเจ้าแห่งน้ำและยังสามารถดลบันดาลความอุดมสมบูรณ์ให้แก่โลกแท้จริงแล้วความเชื่อเรื่อง พญานาคปรากฏขึ้นใน อินเดีย ก่อนการกำเนิดพระพุทธศาสนา
ซึ่งมีการกล่าวถึงนาคในคัมภีร์อาถรรพ์พระเวทอันเก่าแก่แน่นอนแล้วว่าพุทธศาสนาตั้งแต่ยุคต้นได้หลอมรวมเอาความเชื่อเรื่องพวกนี้เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งอีกด้วย คำว่า นาค มีรากรากศัพท์มาจากภาษาอินโดยูโรเปียน แปลว่า เปลือย หรือว่า แก้ผ้า คำนี้มีการใช้กันมามายในหมู่ชาวชมพูทวีปหรืออินเดียมาตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์
จิตรภูมิศักดิ์ นักปราชญ์คำสำคัญของไทยเคยเขียนคำอธิบายความหมายของคำว่า นาค เอาไว้ว่า ชาวอารยัน ยุคสมัยเก่าถ้ามองย้อนไปที่ยังไม่เกิดเป็นรัฐนั้นมีการถากถางดูถูกพวก นาค เพราะถือว่าเป็นพวกพื้นเมืองกลุ่มหนึ่งที่ล้าหลัง จิตรเชื่อมานาคมาจากภาษาฮัดสันเขียนว่านากาแต่อ่านออกเสียงเป็น NAGA แปลว่าเปลือยหรือแก้ผ้า
นอกจากนี้คำว่า นาค อาจจะมาจากภาษาฮินดูว่า NAG แปลว่า คนชาวเขา และคำว่า นาค นี่เองในที่สุดได้กลายมาเป็นภาษาอังกฤษคำว่า NAKED ที่แปลว่าเปลือย นาค จึงได้มีความหมายที่พวกชาวอารยันในชมพูทวีปใช้เรียกกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมต่ำกว่าในดินแดนทางตะวันออกดั่งปรากฏชนเผ่ากลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่ใน นากาแลนด์ ของอินเดียจนถึงปัจจุบัน
เมื่อราว2,500ปีมาแล้วเมื่อชาวชมพูทวีปเดินทางมาค้าขายแลกเปลี่ยนกับกลุ่มคนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ยังล้าหลังพวกเขาพบว่าชาวพื้นเมืองยังนุ่งห่มเพียงใบไม้หรือผ้าผืนเล็กๆจตึงเป็นที่มาของคำเรียกอย่างดูแคลนว่า นาค ซึ่งหมายถึงคนพื้นเมืองที่เปลือยเปล่านั่นเอง
เนื่องจากนี้ยังได้มีตำนานอันเก่าแก่เกี่ยวกับการกำเนิดอาณาจักรฟูนันในกัมพูชาว่า ในราวพุทธศตวรรษที่10พรามพระโกทันยะจากอินเดียได้เดินทางมายังฟูนันโดยได้แต่งงานกับ “ นางนนาค “ ซึ่งเป็นพระธิดาของ “พญานาค “ และได้ครองอาณาจักรแห่งนี้
ตำนานนี้ยังได้ถูกเล่าต่อมาเป็นนิทาน “นางนาคกับพระทอง” โดยเป็นดินแดนนิทานอุษาขเณที่แพร่หลายอย่างมากนาอกจากนี้ยังมีบันทึกนิทานกำเนิดลัทฟูนันโดยนักภสจีนที่เล่าเรื่องนางนาคที่ชื่อหลิวเย่หมายถึงนางที่นุ่งห่มด้วยใบมะพร้าวซึ่งได้แต่งงานกับพรามที่มาทางทะเลด้วยเช่นกัน
สนับสนุนโดย. gclub ฝากออโต้